กองทุน SSF การวิเคราะห์ข้อดีข้อเสีย การลดหย่อนภาษีที่จะมาแทน LTF

กองทุน SSF

กองทุน SSF หรือ Super saving fund ที่เป็นกองทุนที่คลอดออกมาอย่างเป็นทางการ ที่เป็นกองทุนสำหรับการลดหย่อนภาษี น้องใหม่ ที่จะมาแทนกองทุน LTS หรือ long term equity fund ที่กำลังจะยกเลิก แล้วให้ใช้สิทธิประโยชน์ ในปีนี้เป็นปีสุดท้าย กองทุน SSF และ RMF การสรุปเงื่อนไขใหม่ที่ควรรู้ การวิเคราะห์ข้อดี – เสีย ของ Super saving fund และ RMF ในเงื่อนไขใหม่ ข้อดี ของกองทุนนี้ -เป็นกองทุนใหม่ Super saving fund ที่ช่วยลดย่อน ภาษีได้ หลังจากที่ในตอนแรกที่หลายคนนั้นคิดว่า อาจจะไม่มีอะไรมาทดแทน กับการที่ออกนโยบาย มาใหม่ก็ถือว่าเป็นข้อดี -แล้วยังลงทุนในสินทรัพย์ ได้ทุกประเภท ที่นั้นก็ถือว่า เป็นข้อดีมาก เพราะจะช่วยลดปัญหาเดิมที่ LTF ที่ต้องลงทุนในหุ้นที่เป็นหลัก ของการกระจายสินทรัยพ์ อื่นที่ได้เพิ่มสภาพคล่องตัว ที่นำมาประยุกต์ ใช้ในการวางแผนทางการเงินได้อย่างหลากหลาย และสามารถเลือกระดับความเสี่ยงได้มากขึ้น -ส่วนของเพดานการซื้อ นั้นไม่เกิน 30%  ของเงินที่พึ่งประเมิน การปรับอัตราส่วน ร้อยละ ตรงนั้นนั้นจะช่วย ให้ผู้คนนั้นมีรายได้น้อยยั้ยสามารถเข้าถึง การลดหย่อนภาษีนี้ได้มากขึ้น จากเดิม -และไม่มีกำหนด การซื้อขั้นต่ำ และช่วยลดภาระเรื่องของการจ่ายเงินในช่วงตึงมือได้ ข้อเสีย ของกองทุนนี้ – Super saving fund ที่ถึงครองมายาวนานกว่า เป็นระยะเวลา 10 ปี ที่นับจากวันที่ซื้อ ที่ต่างจาก LTF ที่ถือครองมา เป็นระยะเวลา 7 ปี หรือสามารถใช้ลูกเล่น ได้เหลือเพียง…

Read More

บล.ทิสโก้ เกิด 9 หุ้น รับเงินต่างชาติ ไหลเข้า ชี้ฝรั่งเข้าซื้อเก็งกำไร

บล.ทิสโก้

บล.ทิสโก้ เกิด 9 หุ้น ที่เป็นตัวเด่นที่คาดการณ์ไว้ว่ารับ ความสนใจ ในสายตาแก่นักลงทุน ต่างชาติหลังจากที่เห็นสัญญาณ ที่ว่าเม็ดเงินไหลเข้ากว่า 5 วัน ของการทำการติดต่อกัน เพื่อชี้ฝรั่งเข้ามาเก็บเพื่อเอาไว้เก็งกำไร ที่อาจจะฟื้นตัวในข่วงครึ่งปีหลัง ที่ได้รับอนิสงค์ ของการปลด Lockdown ที่ดอกเบี้ยลด สภาพคล่องสูง แต่โอกาสปรับขึ้น ของดัชนี ก็เริมน้อยลง เพราะเข้าใกล้ช่วงเป้าหมายปลาปี ที่ 1,420 จุด บล.ทิสโก้ หรือ บริษัท หลักทรัพย์ ทิสโก้ จำกัด โดยนาย อภิชาติ ผู้บรรเจิดกุล ผู้อำนวยการอาวุโส สายงาน วิเคราะห์เชิงกลยุทธ์ ( Mr. Apichat Poobunjirkun, senior strategist , Tisco securities Co., Ltd ) ที่ได้มีการเปิดเผยว่า นับตั้งแต่  ต้นปีที่ผ่านมา จนถึงปัจจุบันนี้  YTD ที่นักลงทุนของชาวต่างชาติ นั้นขายสุทธิหุ้นไทย มูลค่ากว่า 1.9 แสนล้านบาท  แต่ที่ล่าสุดนี้ก็เริ่มเห้นสัญญาณที่ดี จากเม็ดเงินของต่างประเทศที่ไหลเข้า มาโดยนักลงทุนต่างชาติที่พลิกมาซื้อสุทธิอย่าง มีนัยสำคัญ 3 วัน ที่ติดต่อ กันตั้งแต่ วันที 29 พฤษภาคม 63 ที่เป็นมูลค่า รวมกว่า  8,900 ล้านบาท ที่นับเป็นการซื้อสุทธิ 3 วันติดต่อกัน ในครั้งแรก ในรอบระยะเวลา 5 เดือน จากการตรวจสอบเงินทุนต่างประเทศ (Foreign Funds inflow) ที่ไหลเข้ามาในตลาดหุ้น ในภูมิภาค ที่มีทิศทางเป็นบวกของตลาด…

Read More

Major ที่พลิกเป็นขาดทุน รายได้ที่ลดลงกว่า 44%

Major

Major หรือ บริษัท เมเจอร์ ซีนีแพล็กซ์ กรุ้ป จำกัดมหาชน ซึ่งเป็นผู้ที่ให้บริการโรงภาพยนต์ชั้นนำของประเทศไทย ที่ก็เป็นอีกหนึ่งธุรกิจที่ได้รับผลกระทบจาก สถานการณ์แพร่ระบาดของ Covid-19 มากที่สุด Major เป็นธุรกิจโรงภาพยนต์ ที่เมื่อได้รับผลกระทบจากการแพร่ระบาดแล้ว หารายได้อื่นมาชดแทนได้ยาก เพราะจะหันไปหาทางออนไลน์ก็ไม่ได้ จะส่งเดลิเวอรี่ก็ไม่ได้ เรียกได้ว่าปิดก็คือปิด จนผลประกอบการนั้น พลิกผันออกมาเป็นขาดทุนกว่า 44% บริษัท เมเจอร์ ที่รายได้นั้นลดลงกว่า 44% หรือคิดเป็นมูลค่ากว่า 1,886 ล้านบาท เหลือเพียง 1.052 ล้านบาท ที่ปรับมาตราฐานทางบัญชีแล้ว ซึ่งเป็นผลกระทบจากการปิดห้างสรรพสินค้า เพียง 10วัน ในช่วงไตรมาสแรก แต่ถึงอย่างไรก็ตาม โรงภำยนต์ก็ได้รับผลกระทบนี้มาล่วงหน้าแล้ว เพราะเป็นสถานที่ที่คนจะเลี่ยง การแออัด ต้นทุนที่ลดลงต้นทุนการขาบที่ลดลงถึง 33% เพราะหลักๆก็คือ ส่วนแบ่งค่าฉายให้เจ้าของหนัง ในเมื่อโรงหนังปิด ทางบริษัท เมเจอร์ ก็จ่ายเพียงค่าส่วนแบ่งลดไปตามสัดส่วนด้วย แต่ก็ไม่สามารถลดได้จนหมด เพราะยังมีส่วนของต้นทุนของค่าสถานที่ต่างๆ มาประกอบอยู่ด้วย ค่าใช้จ่ายในการขาย และบริหารที่ลดลงไม่มากนัก กำไรจากเงินลงที่นั้น ก็ลดลงด้วยเช่นกัน เพราะบริษัท เมเจอร์ ก็มีเงินลงทุนใน SF หรือ สยามฟิวเจอร์ดีเวลอปเมนท์ จำกัด (มหาชน) และยังเป็นธุรกิจ ที่บริหารพื้นที่ห้างสรรพสินค้า ที่ก็ได้รับผลกระทบจะการ Covd-19  นี้ด้วยเช่นกัน ส่วนแบ่งกำไรตรงนี้ ที่ลดลงจาก 89 ล้านบา เหลือ เพียง 72 ล้านบาท หรือ ลดลงกว่า 26% ของในไตรมาสนี้ ภาพรวมของช่วงไตรมาสที่ 2 ที่ผลรวจากช่วงไ  ตรมาที่1 นั้นได้รับผลกระทบอย่างหนักเนื่องจากการปิดห้าง ประมาณ 10 วัน แต่ในไตรมาสที่สองนั้น…

Read More

Industrial revolution : การปฏิวัติวัตสาหกรรม การปฏิวัติเพื่อการเปลี่ยนโลก

Industrial revolution

Industrial revolution เพื่อการปฏิวัติของการเปลี่ยนโลก ของการปฏิวัติ คือการ เปลี่ยนแปลง ในรูปแบบของการทำงาน เพื่อให้ได้ผลผลิตได้มากขึ้น จากเดิมที่ได้มีการพึ่งพิง แรงงานมนุษย์ ในการผลิต สินค้า อย่างประณีต แบบชิ้นต่อชิ้น ที่เป็นการเปลี่ยนแปลง การใช้เครื่องจักร และนวัฒกรรมต่างๆ ในโรงงานเพื่อผลิตสิวค้าจำนวนมาก Industrial revolution ของในระบบโรงงาน  โดยมนุษย์ ที่ทำหน้า ที่เป็นเพียงผู้คุมในระบบโรงงานเท่านั้น ของการปฏิวัติอุสาหกรรม ที่เริ่มต้นขึ้นที่บริเตน ตั้งแต่ช่วงศตวรรษที่ 17 ของผลการปฏิวัติ ไม่เพียงการเปลี่ยนแปลง เศรษฐกิจของการให้เติบโตขึ้น แต่ก็ยังเปลี่ยนแปลงวิถีชีวิตของการผู้คนในบริเตน ที่รวมถึงผู้คนทั่วโลกในเวลาต่อมา การผลิตซ้ำเปลี่ยนโลก ของการปฏิวัติวัตสาหกรรม ที่เกิดขึ้นเมื่อมีการคิดค้น สิ่งประดิษฐ์ ที่เป็นการช่วยทุ่นแรงของมนุษย์ ในช่วง ศตวรรทษที่ 17 ที่บริเตน นั้นได้รับสินค้า จากประเทศอาณานิคม เมื่อประชากรภายในบริเตนที่ประเทศใต้อาณานิคม ที่มีจำนวนมากเพิ่มขึ้น ที่บริเตนเริ่มหาทางผลิตสินค้าให้เพียงพอต่อความต้องการของทางการตลาด ด้วยการคิดค้นเทคโนโลยีใหม่ๆ การเริ่มใหม่แล้วไปต่อ ที่เทคโนโลยีร เหล่านี้นั้นจะถูกนำไปใช้กับทางประเทศอื่นๆ ช่วงปร 1780 ของทางสหรัฐ อเมริการ ที่ได้เริ่มเรียนรู้เทคโนโลยี สิ่งทอจากทางบริเตน หรือปี 1807 ที่เริ่มมีการ ก่อตั้งร้านขาย เครื่องยนต์ ที่ประเทศเบลเยี่ยม ที่เป็นจุดเริ่มต้นหลายอย่าง ของการเปลี่ยนแปลงเทคโนโลยี ที่เกิดขึ้นในช่วงปฏิบัติอุตสาหกรรม -วัตถุดิบใหม่ ในการผลิตเช่น เหล็ก Iron หรือ เหล็กกล้า Strrl -การใช้พลังงานใหม่ๆ ในการผลิต เช่น ถ่านหิน เครื่องจักรไอน้ำไฟฟ้า ปิโตรเลียม และเครื่องยนต์ สันดาปภายใน -การคิดค้นเครื่องยนต์ แยยใหม่ เช่น หูกทอผ้า power loom ที่เพิ่มและลด การใช้งานแรงงานคนได้มาก -การใช้งานระบบไฟฟ้า…

Read More

Great depression : ประชาชนมีชีวิตอยู่อย่างไร

Great depression

Great depression ภาวะของการตกต่ำครั้งยิ่งใหญ่ ที่เกิดขึ้นเมื่อ ตลาดหุ้นวอลสตรีทของทาง สหรัฐอเมริกา ที่ถล่มลงเมื่อเดือน ตุลาคม ในปี ค.ศ. 1929 และผลให้กับทางนักลงทุน นับล้านที่หายไป กับการจับจ่ายใช้สอยของผู้บริโภค และนักลงทุนน้อยลงอย่างมาก ที่เศรษฐกิจอเมริกาตำต่ำลง เป็นอย่างต่อเนื่อง จนถึงปี ค.ศ. 1939 กับประชาชนทั้งในเมืองและในชนบท ไม่ว่าจะเป็นเรื่องของชนชั้นใด ล้วนได้รับผลกระทบ ที่ประชาชนชาวอเมริกานั้นจำเป็นต้องปรับเปลี่ยนวิถีเพื่อความอยู่รอดด้วย เช่นเดียวกับที่เคยปรับตัวแล้ว ในช่วงตั้งแต่สมัยสงครามโลกครั้งที่ 1 เมื่อปี ค.ศ. 1917 Great depression กับหลังยุด twenty เกิดขึ้นหลังยุค twenty ที่มีความเจริญรุ่งเรือง ก่อนที่จะเกิดภาวะเศรษฐกิจตกต่ำครั้งยิ่งใหญ่ ของเศรษฐกิจสหรัฐอเมริกา ที่มีความรุ่งเรืองอย่างมากในช่วง ปี ค.ศ. 1920 แต่เมื่อเหตุการณ์ของทางตลาดหลักทรัพ์ล่มจำนวนคนว่างงานมากถึง จำนวน 14 ล้านคน ในปี ค.ศ. 1933 ที่ว่าว่างงายส่งผลให้หลายครอบครัวนั้นต้องสูญเสียรายได้อย่างกระทันหัน ขาดเงินผ่อนบ้านและถูกยึดทรัพย์สถานการณ์ในพื้นที่ชนลท ยิ่งเลวร้ายมากขึ้นเมื่อเกิดพายุฝุ่นดินถล่มที่มิดเวสต์ ของชาวไร่ชาวนาที่ต้องอพยพ ให้เข้าเมืองเมื่อหาเงินทำงาน ที่ค่าแรงตกต่ำลง และประชาชนก็ประสบกับภาวะขาดสารอาหาร ที่มีผู้คนจำนานกว่า 2 ล้านคนที่ออกเร่ร่อนนเพื่อหางานทำ และจำนวนของคนที่ฆ่าตัวตาย ในปี 1932 ก็มีมากถึง ร้อยละ 21.3 ของจำนวนประชากร จำนวน 1 แสนคน ด้วยท่ามกลางของวิกฤติ เศรษฐกิจตกต่ำ ที่เลวร้ายที่สุด ที่คำกล่าวของประธานาธิบดี คูลิดจ์ “ที่ว่ากินให้เกลี้ยง ใส่จนกว่าจะใส่ไม่ได้ ทำให้มันได้ใช้ หรือทำให้ได้โดยไม่ต้องใช้มัน” ให้กลับมาได้รับความนิยมอีกครั้ง กับคำกล่าวนี้ ที่มาจากภาวะ ของเศรษฐกิจในสมัยสงครามโลกครั้งที่ 1 ที่ทางกองทัพต้องตุนเสบียงและเกณฑ์ให้ผู้ชายไปออกรบ และส่วนของทางอุตสาหกรรมเกษตรได้รับผลกระทบอย่างมาก ทั้งที่ขาดแคลนของส่วนผลผลิตและโรงงาน ที่ชาวอเมริกัน นั้นจึงเริ่มลดการบริโภคโดยการให้งดเนื้อสัตว์ ในวันจันทร์…

Read More

Dubai ทำไมถึงก้าวมายิ่งใหญ่ในเวทีโลก

Dubai

Dubai ไม่เป็นเพียงแต่เป็นรัฐที่มีขนาดใหญ่ที่สุด และยังมีประชากรจำนวนหนาแน่นที่สุดในสหรัฐอาหรับเอมิเรตส์ แต่ยังเป็นรัฐที่มีความเจริญสูงที่สุด ในหลายๆด้าน ไม่ว่าจะเป็นนการขนส่ง ที่ได้รับการใช้บริการมากที่สุดใน ส่วนของภาคตะวันออกกลาง และมีพื้นที่สนามบินที่ใหญ่ที่สุดในภาคตะวันออกกลาง ที่สำคัญยังมีโรงแรมสุดหรูหราที่สุดในโลก Dubai ไม่ใช่ทองคำในแท่นขุดเจาะ ผู้คนส่วนใหญ่จะเข้าใจว่าดูไบนั่นร่ำรวยจากการครอบครองน้ำมันดิบ ทั้งที่น้ำมันดิบดูไบนั้น มีสัดส่วนไม่ถึงร้อยละ 1 ของการผลิตภัณฑ์ ของมวลรวมในประเทศ หรือ GDP ของการพัฒนาทุกด้านอย่างไม่หยุดยั้ง ที่เป็นการส่งผลให้กับการพัฒนาของดูไบ จากหมู่บ้านชาวประมงริมอ่าวเปอร์เซีย นั่นกลายเป็นศูนย์กลางของการค้าที่ใหญ่ที่สุดแห่งหนึ่งของโลก ดินแดนไข่มุกกลางทะเลทราย ใน ช่วงปี ค.ศ. 1770 -ปลายปี ค.ศ 1930 ในช่วงนี้ที่ยังไม่ได้มีการค้นพบน้ำมันดิบ และธุรกิจหลักของดูไบเป็น ไข่มุก ที่ต่อมา เมื่อธุรกิจไข่มุกเริ่มซบเซา ที่ชาวเมืองดูไบเริ่มประสบกับปัญหา ความอดอยากจึงทำการอพยพ ไปอยู่ที่เมืองอื่น จนกระทั่งปี ค.ศ. 1958 ที่ทาง Sheikh Rashid saeed Al Maktoum ที่เป็นผู้นำของทางดูไบ ได้ทำการกู้เงินมากว่า 10 พันล้านดอลลาร์สหรัฐ เพื่อการลงทุน การพัฒนาโครงสร้างพื้นฐาน และความเป็นเมืองของดูไบ จึงเริ่มต้นขึ้น การเดินสายไฟฟ้า การติดตั้งสัญญาณโทรศัพท์ การสร้างสนามบินแห่งแรก จนสำเร็จในช่วงปี ค.ศ. 1960 และต่อมาในปี ค.ศ. 1966 ทางดูไบก็ได้เริ่มค้นพบในส่วนของน้ำมันดิบ และเงินในส่วนของการส่งออกน้ำมันดิบก็ถูกนำมาเพื่อการใช้พัฒนาโครงสร้างพื้นฐานของเมืองอย่างต่อเนื่อง เมื่อโครงสร้างพื้นฐานของเมืองนั้นเริ่มแข็งแรง ดูไบเองก็เริ่มทำการวางแผนดึงดูด นักลงทุนมากขึ้นด้วยการเปิดเขตการค้าที่เสรีแห่งแรก ในช่วงปี ค.ศ. 1985 ได้แก่ jebel Air Free Zone หรือจะเป็นที่รู้จักกันในชื่อ Jafza ที่จากนั้นในปีค.ศ. 1990 จึงเปิดเขตของ ดูไบ มีเดีย ซิตี้ และ ดูไบ อินเทอร์เน็ต…

Read More

Covid-19 ทำให้โลกเราเปลี่ยนไป กับความเสียหายมากมาย

Covid-19

Covid-19 ทำให้โลกของเรานั้นเปลี่ยนไป ที่มีการคาดการณ์ กันไว้ว่า การแพร่ระบาดของเชื้อโควิด นั้นก่อให้เกิดความเสียหายอย่างมากถึง มูลค่า 2.7 พันล้านล้านดอลลาร์สหรัฐ ที่เศรษฐกิจของโลกนั้นโดนผลกระทบอย่างรุนแรง ในขณะที่ปัญหาของทางเศรษฐกิจ นั้นกำลังลุกลามไป ได้ต่างจากเชื้อไวรัสที่กำลังแพร่ระบาดเลย  Covid-19 มาพร้อมกับความเปลี่ยนแปรง ที่ประเทศจีน เป็นประเทศที่พบการแพร่ระบาดของเชื้อไวรัสเป็นประเทศแรก ที่ทำให้มีผลกระทบต่อยอดของเศรษฐกิจ ของยอดการผลิต ยอดขาย และยอดขายการลงในโรงงาน จึงเกิดการตกต่ำอย่างมาก เพราะทำให้หลายๆ โรงงานในประเทศจีนนั้นปิดตัวลงอย่างมาก ตั้งแต่ช่วงเดือนมกราคม และเดือนกุมภาพันธ์ ที่ผ่านมา ที่การปิดตัวลงของโรงงานเหล่านี้นั้นส่งผลกระทบต่อระบบเศรษฐกิจโลก เพราะประเทศจีนนั้น เป็นประเทศของผู้ส่งออกรายใหญ่ ที่สุดในโลก บริษัททั่วโลกที่เคยรับวัสดุที่มีราคาต่ำจากโรงงานในจีนประสบปัญหา ที่เนื่องจาก ที่ต้องใช้วัสดุที่มีราคาสูงขึ้น ซึ่งการแพร่ระบาดของเชื้อไวรัส ยังส่งผลต่อการลงทุน ของดัชนี Dow Jones industrial Average (DJIA) , FTSE และ Nikkei ที่ร่วงลงอย่างรุนแรงหลังจากที่มีข่าวการแพร่ระบาด ตั้งแต่วันที่ 31 ธันวาคม 2019 ที่ ดัชนี ของ DJIA และ FTSE นั้นร่วงลงเป็นอย่างมา ในรอบตั้งแต่ ค.ศ. 1987 ที่เป็นการลงทุนที่ถือว่าเป็นการแพร่ระบาดของไวรัสที่จะส่งผลต่อ ความต้องการทางน้ำมัน และก็อาจจะเกิดภาวะ ของการเกิดเศรษฐกิจถดถอย ถึงแม้ว่าทางรัฐบาลของประเทศต่างๆ นั้นจะพยายามออกมาตรการต่างๆ ในการรับมือของการแพร่ระบาดแล้วก็ตาม แต่มาตรการเหล่านั้นกลับทำให้เศรษฐกิจนั้นตกต่ำมากกว่าเดิม  ที่รัฐบาลทั่วโลกที่มีการประกาศข้อกำหนดในการเดินทางเพื่อการป้องกัน การแพร่ระบาดเชื้อไวรัส โดยการปิดชายแดนและไม่อนุญาตให้นักท่องเที่ยวต่างชาติ ที่อยู่นอกกลุ่มประเทศสหภาพยุโรปเข้าประเทศเป็นระยะเวลา 30 วัน ถึงแม้ว่าเศรษฐกิจโลกนันจะถูกทำร้าย จากการแพร่ระบาดของเชื้อไวรัส และมาตรการ ป้องกันเชื้อไวรัสที่เปลี่ยนแปรงพฤติกรรมของผู้บริโภคไปอย่างมาก ในขณะนี้ จึงไม่สามารถประเมินค่าได้ว่าการระบาดครั้งนี้นั้นจะสิ้นสุดลงอย่างไร และรัฐบาลต่างๆ จึงทำได้เพียงเตรียมการรับมือไว้ให้ดี ในช่วงของการแพร่ระบาด ต่อไปอย่างรอครอบที่สุด CR. UFABET

Read More

Thailand 4.0 คืออะไร กับสภาวะเศรษฐกิจไทย

Thailand 4.0

Thailand 4.0 ถ้าหากพูดถึง ก็คงเป็นวลีเด็ดของยุคสมัยนี้  ที่ว่า 4.0 ก็คือประเทศเราที่จะมุ่งไปสู่ 4.0 จนกว่าจะกลายเป็นคำที่ ถูกมาใช้ในบริบทต่างๆ แต่อีกสิ่งหนึ่งที่เราทุกคนนั้น น่าจะต้องเป็นเหมือนกันคือ รู้ว่า 4.0 จะต้องเป็นอะไรในทางที่ดีขึ้น แต่ก็ไม่สามารถอธิบายได้อย่างถูกต้องว่าแท้ที่จริงมันคืออะไร และอีกอย่างที่สำคัญ ถ้าประเทศไทย จะไป 4.0 นั้นก็แปลว่าตอนนี้เรานั้น ได้ผ่าน 1.0 2.0 และ 3.0 มาแล้วหรือเปล่า และตัวเลขเหล่านี้คืออะไร หมายถึงอะไร ที่วันนี้เราจะมาทำความรู้จักและเข้าใจกับ ประเทศไทย ตั้งแต่ 1.0 ไปถึง 4.0 กัน Thailand 4.0 ที่จะบ่งบอกถึงระดับการพัฒนา ที่รวมไปทุกๆอย่างของ สภาวะเศรษฐกิจของประเทศไทย ทั้ง 4 ยุค ประเทศไทยในยุค 1.0 คือ ประเทศไทยในยุคกสิกรรม ที่เป็นระยะยแรกๆ ของการพัฒนาเศรษฐกิจ ของประเทศต่างๆ ที่มักจะเริ่มต้น เศรษฐกิจด้วยธุรกิจที่เกี่ยวข้องกับทรัพยากรดั้งเดิมของประเทสชาติ ที่เนื่องมาจากในความรู้และเทคโนโลยีไม่มาก และสอดคล้องกันกับลัษณะของสังคมและเศรษฐกิจแบบดั้งเดิมของประเทศอยู่แล้ว แต่ในกรณีของ ประเทศไทย 1.0 ที่เราได้ขับเคลื่อนด้วยทางภาคการเกษตร โดยที่เน้นเรื่องของการส่งออก ข้าวเป็นหลักจนได้ตำแหน่งของ ผู้ส่งออกข้าว อันดับหนึ่งของโลก หลายต่อหลายครั้ง แต่ทางการส่งออกทรัพยากรทางการเกษตรก็จะเป็นธุรกิจที่มีความผันผวนทางราคาโภคภัณฑ์โลก ที่นอกจากนี้สินค้ายังไม่ค่อยแตกต่างกันมาก ที่จะทำให้ตลาดที่มีการแข่งขันนั้นสูง และความผันผวนไปตามภาวะของเศรษฐกิจโลก ประเทศไทยในยุค 2.0 คือประเทศไทยในยุคอุตสาหกรรมเบา ที่ระยะต่อมาของการพัฒนาระบบเศรษฐกิจ ที่ประชาชาติ ที่จะพัฒนาขึ้นมาเป็นอุตสาหกรรมของการผลิตมากขึ้น ที่เนื่องมาจากลักษณะธุรกิจที่มีความแน่นนอสูงกว่าและมักจะสร้างผลผลิดต่อตาราเมตร และของประชากรได้มากขึ้น ที่ระยะของประชาชาติมักจะเริ่มต้นจาก ส่วนของอุตสากรรมการผลิตที่มีความซับซ้อนไม่มาก โดยที่จุดเด่นของยุคนี้ที่จะทำให้เป็นผู้ชนะได้คือการมีต้นทุนค่าแรงที่ถูกกว่าประเทศที่เป็นฐานการผลิตอื่นจนทำให้สินค้ามีราคาในระดับที่แข่งขันได้ในตลาดโลก ระยะนี้รายได้ต่อหัวประชากรก็จะค่อยๆ ขยับตัวสูงขึ้นตามคุณภาพชีวิตที่ดีมากขึ้นจากการพัฒนาภาคอุตสาหกรรมที่สร้างรายได้ให้ประเทศมากขึ้น ประเทศไทยในยุค 3.0 คือ รายได้ต่อหัวประชากรขยับตัวเพิ่มสูงขึ้น ค่าแรงขั้นต่ำของประเทศจะสามารถ ปรับตัวสูงขึ้นตามรายได้ประชากรและเงินเฟ้อ ทำให้การทำอุตสาหกรรมที่มีความซับซ้อนน้อยแข่งขันได้ยากขึ้นเรื่อยๆ จากสภาพต้นทุนค่าแรงที่สูงขึ้น ระยะนี้ประเทศต้องพัฒนาขึ้นไปเป็นอุตสาหกรรมที่มีการเพิ่มมูลค่ามากขึ้น…

Read More

Cashless China : สังคมไร้เงินสด คนจีน 14% ไม่พกเงินสดออกจากบ้าน

Cashless China

Cashless China จากงานวิจัยจาก YouGov ในประเทศจีน ที่มีการชี้แจงไว้ว่า คนจีนกว่า 30% ที่เชื่อว่าในอีก 10ปี ข้างหน้า ประเทศจีนจะเป็นสังคมไร้เงินสด ที่หลายคนอ่านถึงตรงนี้ที่อาจจะงงเพราะกำลัง คิดว่าเป็นสังคมไร้เงินสด แบบที่ว่าเกิดมาจากการใช้บัตรเครดิต ที่เป็นหลักเหมือน กับทางฝั่งประเทศตะวันตก ซึ่งในประเทศจีน ที่มีคนจำนวนมากที่ยังไม่มีโอกาส เข้าถึงบัตรเครดิตได้มากขึ้น ที่อีก 10ปี จะกลายเป็น Cashless China แต่เปล่าเลย ทีสังคมไร้เงินสดที่ว่ามาจาก Mobile payment ที่ถ้าหากช่วงนี้ที่ถ้า ลองสังเกตในร้านสะดวกซื้อของบ้านเราที่ จะเห็นได้ว่า มีป้าย Airpay บ้าง หรือ Wechat pay บ้าง ที่ทั้งป้ายที่เป็นสัญลักษณ์ที่บอกว่าร้านค้า นี้รับชำระด้วยระบบ Mobile payment โดยการชำระเงินทำได้อย่างง่ายมาก โดยที่ลูกค้าเพียงเปิดแค่ QR Code จากทางแอพลิเคชั่น ของตัวเองให้สแกน และกดหมายเลข เพื่อเป็นการยืนยันของการชำระ เพียงเท่านั้น ที่ลูกค้ากฌสามารถใช้บริการได้โดยไม่ต้องพกเงินสดเลยสักบาท ที่เนื่องมาจากความสะดวกที่จะไม่ต้องพกเงินสดติดตัว ไปไหนมาไหน เป็นจำนวนมาก ด้วยเหตุผลอีกอย่างหนึ่งคือประเทศจีน นั้นมีขนาดกว้าง และในระบบธนาคารที่ยยังไม่ได้มีการพัฒนาการอำนวยความสะดวกมากสักเท่าที่ควร หรือบาที่ก็อาจจะห่างไกลตัวเมือง ดังนั้น ถ้าหากเงินในกระเป๋าหมด ที่การจะหาตู้ ATM เพื่อที่จะทำการกดเงินสด นั้นก็ไม่ใช่เรื่องที่รู้สึกว่าสะดวกสบายเท่าที่ควร จึงทำให้กระแสของ mobile payment นั้นเติบโตขึ้นอย่างรวดเร็ว ที่เป็นส่วนหนึ่งที่ทางผู้พัฒนาระบบไอที ของทางประเทศจีน อย่าง Aribaba ผู้ที่ถือครองตลาดค้าปลีกออนไลน์ก็มี Alipay ที่ในขณะที่ Tencent ของผู้ถือครองตลาดแอพลเคชั่น อย่าง Wechat ก็ยังมี Wechat pay  ขึ้นมาเป็นขจองตัวเอง เพื่อนเป็นการทำให้ผู้คนสามาเข้าได้ถึงง่ายมากขึ้น และเกิดการเติบโตอย่างรวดเร็ว ทางด้านงานวิจัยของทาง Mobile payment…

Read More

Oil price Structure ของประเทศไทย

Oil price Structure

Oil price Structure น้ำมันและพลังงาน ถือว่าเป็นต้นทุนที่สำคัญสำหรับการดำรงชีวิต โดยเฉพาะอย่างยิ่งกับประเทศ ที่ไม่ใช่ผู้ส่งออก และอย่างประเทศไทยที่มีโครงสร้างของราคา จึงเป็นประเด็นที่สำคัญที่รัฐบาล และผู้ที่มีส่วนเกี่ยวข้อง ที่ต้องมีการบริหารจัดการ เพื่อการสร้างความมั่นคงให้กับชาติ Oil price Structure มีอย่างไรบ้าง ที่อ้างอิงจากทางสำนักงานนโยบาย และแผนพลังงาน จะพบว่าต้นทุนของค่าน้ำมันที่ประชาชน เติมจริงๆ ไม่ได้เป็นแค่ราคาน้ำมันหน้าโรงกลั่น แต่ต้องผ่ารการควบคุม ของกระบวนการหลายอย่าง ซึ่งผ่านการกำกับดูแลโดยทางภาครัฐ ที่ทำให้โครงสร้างของราคาน้ำมันเป็นไปตามลำดับ ดังนี้ ราคาน้ำมัน ณ โรงกลั่น ที่เป็นต้นทุนที่ถือว่าเป็นราคาน้ำมันที่มาจากโรงกลั่นที่แท้จริง ถ้าคิดเป็นสัดส่วนก็ประมาณ 79% ของราคาน้ำมันที่หน้าจุดขาย สิ่งที่สำคัญควร ทราบถึงราคาของน้ำมัน ณ โรงกลั่นที่ไม่ได้กำหนดโดยที่ต้นทุนของการผลิตหรือ จากโรงกลั่น แต่ที่เคลื่อนไหวไปตามราคาน้ำมันโลก ที่มีความผันผวนไปตามDemand – supply หรือ จะเรียกได้ว่า เป็น ความต้องการทางการซื้อ – ความต้องการทางการขาย โดยที่ทางประเทศไทย ได้มีการอ้างอิงมาจากราคาน้ำมัน ที่สำเร็จรูปจากตลาดสิงคโปร์ ที่บวกค่าขนส่ง ค่าประกัน และค่าการสูญหาย หรือที่เรียกกันว่า ราคา ณ โรงกลั่น ที่ทางบริษัทที่มีการสำรวจถึงการผลิตปิโตรเลียม ที่ต้องแบกรับความเสี่ยงจากการผันผวน เช่น PTTEP หรือ บริษัท ปตท. ที่สำรวจและผลิตปิโตรเลียม จำกัด (มหาชน) ถ้าหากราคาของน้ำมันของโลกที่ขึ้นสูง ทางบริษัทลิตและการสำรวจ ก็จะมีกำไรสูงขึ้น แต่ถ้าเป็นไปในทางตรงข้าม ทางบริษัทที่สำรวจและผลิตปิโตรเลียม ก็อาจจะเกิดการขาดทุนได้เช่นกัน ถ้าหากทางบริษัทไม่ตั้งราคาตามตลาดโลก ที่ผู้บริโภค หรือผู้ค้าปลีกก็จะหันไปนำเข้าน้ำมันจากแหล่งค้าน้ำมัน ที่ใกล้เคียงกัน อย่างประเทศสิงคโปร์แทน แต่สุดท้ายก็ต้องปรับมาขายในราคาตลาดอยู่ดี ภาษีและกองทุนต่างๆ ต้นทุนส่วนของตรงนี้ ถือว่าเป็นส่วนที่ควบคุมโดยทางภาครัฐ เพื่อทำให้ราคาน้ำมันในประเทศเหมาะสมกับลักษณะของประเทศ ที่คิดเป็นสัดส่วนโดยประมาณ 19% ของราคาน้ำมันหน้าจุขาย ซึ่งที่เป็นภาษีและกองทุนที่สำคัญในประเทศไทยมีดังนี้ ภาษีสรรพสามิต คือภาษีที่มีกรมสรรพสามิตเป็นผู้เรียกเก็บจากสินค้าฟุ่มเฟือย…

Read More