Major ที่พลิกเป็นขาดทุน รายได้ที่ลดลงกว่า 44%

Major

Major หรือ บริษัท เมเจอร์ ซีนีแพล็กซ์ กรุ้ป จำกัดมหาชน ซึ่งเป็นผู้ที่ให้บริการโรงภาพยนต์ชั้นนำของประเทศไทย ที่ก็เป็นอีกหนึ่งธุรกิจที่ได้รับผลกระทบจาก สถานการณ์แพร่ระบาดของ Covid-19 มากที่สุด Major เป็นธุรกิจโรงภาพยนต์ ที่เมื่อได้รับผลกระทบจากการแพร่ระบาดแล้ว หารายได้อื่นมาชดแทนได้ยาก เพราะจะหันไปหาทางออนไลน์ก็ไม่ได้ จะส่งเดลิเวอรี่ก็ไม่ได้ เรียกได้ว่าปิดก็คือปิด จนผลประกอบการนั้น พลิกผันออกมาเป็นขาดทุนกว่า 44% บริษัท เมเจอร์ ที่รายได้นั้นลดลงกว่า 44% หรือคิดเป็นมูลค่ากว่า 1,886 ล้านบาท เหลือเพียง 1.052 ล้านบาท ที่ปรับมาตราฐานทางบัญชีแล้ว ซึ่งเป็นผลกระทบจากการปิดห้างสรรพสินค้า เพียง 10วัน ในช่วงไตรมาสแรก แต่ถึงอย่างไรก็ตาม โรงภำยนต์ก็ได้รับผลกระทบนี้มาล่วงหน้าแล้ว เพราะเป็นสถานที่ที่คนจะเลี่ยง การแออัด ต้นทุนที่ลดลงต้นทุนการขาบที่ลดลงถึง 33% เพราะหลักๆก็คือ ส่วนแบ่งค่าฉายให้เจ้าของหนัง ในเมื่อโรงหนังปิด ทางบริษัท เมเจอร์ ก็จ่ายเพียงค่าส่วนแบ่งลดไปตามสัดส่วนด้วย แต่ก็ไม่สามารถลดได้จนหมด เพราะยังมีส่วนของต้นทุนของค่าสถานที่ต่างๆ มาประกอบอยู่ด้วย ค่าใช้จ่ายในการขาย และบริหารที่ลดลงไม่มากนัก กำไรจากเงินลงที่นั้น ก็ลดลงด้วยเช่นกัน เพราะบริษัท เมเจอร์ ก็มีเงินลงทุนใน SF หรือ สยามฟิวเจอร์ดีเวลอปเมนท์ จำกัด (มหาชน) และยังเป็นธุรกิจ ที่บริหารพื้นที่ห้างสรรพสินค้า ที่ก็ได้รับผลกระทบจะการ Covd-19  นี้ด้วยเช่นกัน ส่วนแบ่งกำไรตรงนี้ ที่ลดลงจาก 89 ล้านบา เหลือ เพียง 72 ล้านบาท หรือ ลดลงกว่า 26% ของในไตรมาสนี้ ภาพรวมของช่วงไตรมาสที่ 2 ที่ผลรวจากช่วงไ  ตรมาที่1 นั้นได้รับผลกระทบอย่างหนักเนื่องจากการปิดห้าง ประมาณ 10 วัน แต่ในไตรมาสที่สองนั้น…

Read More

GBS ปลด Lockdown เฟส 3 ชู SPA-MAJOR-CRP-CPN-SF-HMPRO

GBS ปลด Lockdown

GBS ปลด Lockdown ที่ประเมินดัชนีที่แกว่งตัว sideway Up หลังเฟส 3 ที่พร้อมทั้งการจับตาลุ้นให้มีการปลดล็อก เฟส 4 เร็วๆนี้ ที่หลังจากสถานการณ์ Covid-19 ที่เริ่มคลี่คลาย ในทิศทางที่ดีขึ้น GBS ปลด Lockdown ที่กู้เงิน 3 ฉบับ ที่ประกอบกับล่าสุด พ.ร.ก. ที่กู้เงิน 3 ฉบับ ในวงเลิน 1.9 ล้านล้านบาท ที่ผ่านฉลุย ในขณะที่ทางกระทรวงคลัง เตรียมเสนอการจัดตั้งกองทุน 5 หมื่นล้านบาท ที่ได้อุ้นกลุ่ม SME ทางด้านฝ่ายการวิจัยของการประเมินการเคลื่อนไหว ดัชนี ในกรอบ 1,330-1,385 จุด ที่พร้อมทั้งการดักทางหุ้น ที่ได้อานิสงค์ ของมาตราการผ่อนคลาย ล็อกดาวน์ ของเฟส 3 SPA-MAJOR-CRP-CPN-SF-HMPRO ที่เป็นที่น่าจับตามอง โดนนางสาว วิลาสินี้ บุญมาสู.ทรง ผู้อำนวยการฝ่ายการวิจัย ของ บริษัทหลักทรัยท์ โกลเบล็หจำกัด ที่ประเมินว่า ดัชนี ของทางตลาดหุ้นไทย นั้นมีโอกาสปรับตัว ขึ้นในลักษณะ sideway Up ดดยที่มีแรงหนุนจากการผ่อนคลาย ล็อกดาวน์ อย่างต่อเนื่อง ของหลักจากที่จำนวนของผู้ติดเชื้อของ Covid-19 นั้นมีนำนวนน้อยลง และมีแนวโน้มคลี่คลาย ไปในทิศทางที่ดี ซึ่งก็มีโอกาสเห็นการผ่อนคลายอย่างต่อเนื่องในเฟส 4 ซึ่งในชระเดียวกันที่ ล่าสุดของการประชุมสภาของผู้แทนราษฏร ที่มีมติเห็นชอบร่าว พ.ร.ก ของการกู้เงิน ฉบับ วงเงิน 1.9 ล้านล้านบาท ที่ประกอบกับทางกระทรวงการคลัง ที่เตรียเสนอกับที่ประชุม ครม. อนุมัติ ที่จัดตั้งกองทุนมูลค่า 5 หมื่นล้าน…

Read More

GLOBLEX เผย SET ดีดขึ้นจากหวังว่าจะคลายล็อก ดาวน์เฟส 3

GLOBLEX

GLOBLEX หรือ บล. โกลเบล็ก โดยนางสาวง วิลาสินี บุญมาสูงทรง ผู้อำนวยการฝ่ายวิจัย ของทางบริษัทฯ ที่ได้ประเมิณว่า ส่วนของดัชนีหุ้นไทย ที่ยังมีแรงหนุนจากการคาดหวังกรณีการพิจารณา ผ่อนปรนในระยะ ที่ 3 และ ระยะที่ 4 ตามลำดับ หลังจากที่รัฐบาล ได้ใช้มาตรการล็อกดาวน์ เพื่อการสกัดกั้น การแพร่ระบาดของเชื้อไวรัสโคโรน่า หรือ Covid-19 ที่ก่อนหน้านี้ พร้อมทั้งส่วนของการจับเวลาเคอร์ฟิว GLOBLEX ที่ให้มองในทางที่กลับกัน ให้สอดคล้องกัน ที่รวมทั้งประเด็น ของกระทรวงการท่องเที่ยว และกีฬา ที่เตรียมการหารือ ที่ปลดล็อก การเดินทางการท่องเที่ยว ภายในช่วงเดือยมิถุนายน นี้ และยังส่งผลให้ทางฝ่ายวิจัย การมองกรอบดัชนีของการเคลื่อนไหว ให้อยู่ในระดับที่ 1,320-1,350 จุด หากพิจารณา ที่ปัจจัยภายนอกของประเทศ ที่ยอมรับที่ว่าเรื่องของดัชนี ที่ยังมีแรงกดดัน จากกรณีที่ทางประเทศจีน มีแผนการบังคับ ให้ใช้กฏหมายของความมั่นคงแห่งชิในฮ่องกง ซึ่งส่งผลให้เกิดการชุมนุม การประท้วงกันขึ้นที่ฮ่องกง และสร้างความไม่พอใจให้กับทางสหรัฐฯ ซึ่งประกอบการ กับทางจีนที่ระงับกำหนดเป้าหมายผลิตภัณฑ์ ของมวลรวมภายในประเทศไทย หรือ GDP ประจำปี 2563 ที่เนื่องมาจาก การแพร่ระบาดของไวรัสทั่วโลก ที่ทำให้เศรษฐกิจของประเทศจีนนั้น เกิดความไม่แน่นอน ซึ่งเป็นปัจจัยที่เข้ามาเป็นตัวแปรต่อของตลาดหุ้น ทั้งทางฝ่ายวิจัย ที่ยังแนะนำการจับทิศทางของการลงทุนที่กำลังจะเกิดขึ้นในประเทศ ที่กำหนดการประชุมคณะรัฐมนตรี (ครม.) ในวันที่ 26.พ.ค. ของการกำหนดประชุมสภาผู้แทนราษฎณ เพื่อการพิจารณา พ.ร.ก. กู้เงิน 3 ฉบับวงเงิน 1.9 ล้านล้านบาท เพื่อบรรเทาเหตุวิกฤติจากการระบาดของเชื้อไวรัสโควิด-19 ทั้งทางเศรษฐกิจและสังคม ระหว่างวันที่ 27 – 29 พ.ค. นี้ ขณะเดียวกันวันที่ 27 พ.ค.…

Read More

ZEN ปรับแผน H2/63 เจรจาลดค่าเช่า-ขยายแฟรนไชส์ พร้อมกับเมนูใหม่

ZEN ปรับแผน H2/63

ZEN ปรับแผน H2/63 ของการเจรจา เรื่องของการลดราคาค่าเช่า รวมถึงการขยายแฟรนไชส์ ที่สำคัญการที่จะเพิ่มเมนูใหม่ ที่กล่าวโดย นาย บุญยง ตันสกุล ประธายเจ้าหน้าที่บริหาร บมจ.เซน คอร์ปอเรชั่น ที่ได้ออกมาเปิดเผยว่า เนื่องจากสถากานณ์ ของการแพร่ระบาดเชื้อไวรัสโคโรน่า หรือ Covid-19 ในช่วงที่ผ่านมาทางบริษัทฯ นั้นได้มีการปรับปรุงทิศทางทางกานดำเนินธุรกิจหลังจากครึ่งปีนี้  เพื่อเร่งการผลักดันของผลการดำเนินงานให้กลับมาแข็งแกร่งอีกครั้ง ทาง ZEN ปรับแผน H2/63 ที่มีหลายแผนการ โดยที่มีทั้งแผนระยะสั้น ระยะกลาง และระยะยาว เพื่อให้สอดรับเข้ากับสถานกาณ์ ที่เกิดขึ้นและสร้างการเติบโต ให้แก่ทางบริษัทฯมากขึ้น ซึ่งส่วนของแผนระยะสั้น ที่ได้มีการเริ่มดำเนินการไปแล้ว คือการลดค่าเช่า ตามมาตราการ ของการควบคุมการแพร่บาดของเชื้อไวรัสโคโรน่า หรือ โควิด-19 ซึ่งรวมถึงมาตราการป้องกันการแพร่ระบาดอย่างเข้มงวด เพื่อความปลอดภัยของ ทั้งลูกค้าที่ใช้บริการ และทางพนักงานที่ให้บริการ ส่วนแผนการของการดำเนินงาน ในระยะกลางและระยะยาว ที่มุ่งเน้นการขยายแฟรนไชส์ร้านอาหารตามสั่ง โดยใช้ภายใต้แบรนด์ เขียง มาอย่างต่อเนื่อง ที่นอกจากแทบจะไม่ได้รับผลกระทบในส่วนของยอดขาย ในช่วงกระแพร่ระบาดของเชื้อไวรัสที่ผ่านมา ยังมีการคาดการณ์เพิ่มว่า สิ้นปีนี้จะสามารถเปิด ร้าน เขียงได้ในรูปแบบแฟรนไชส์ ที่ไม่ต่ำกว่า 75 สาขา ซึ่งช่วง 4 เดือนแรก ของปีนี้ที่ได้ทำการเปิดไปแล้วกว่า 20 สาขา ซึ่งล่าสุดของทาง บริษัททนั้นได้มีการ พัฒนาเมนูอาหารใหม่ขึ้นมา ภายใต้ชื่อ ชิกเก้นเซน ที่เป็นไก่ทอดสูตรลับของทางฉบับเซน ที่ทางบริษัทนั้นได้ทำการพัฒนาขึ้นมาเอง ซึ่งเตรียมวางจำหน่ายเฉพาะสาขา Virtual Restaurant หรือ ร้านอาหาร ส่วนที่ไม่มีหน้าร้าน แต่จะไปปรากฏเมนูที่แอพพลิเคชั่นเดลิเวอรี่เท่านั้น ที่มีการพัฒนาขึ้นในรูปแบบใหม่  ของทางแบรนด์อาหารแบรนด์ต่างๆ ของเครือ บริษัท เพื่อรองรับออเดอร์ในรูปแบบเดลิเวอรี่ โดยเฉพาะการตั้งเป้าการขยาย Virtual Restaurant 22 สาขา ในช่วงเดือนแรก…

Read More

WHAUP เผยกำไรการดำเนินงาน Q1/63 ลง19% จากปริมาณขายไป

WHAUP

WHAUP หรือ บมจ. ดับเบิลยูเอชเอ  ยูทิลิตี้ แอนด์ พาวเวอร์ ที่ประกาศผลจากการดำเนินงานสำหรับช่วงไตรมาส 1 ปี 2563 โดยการมีรายได้ส่วนแบ่งของกำไร จากการดำเนินงาน ปกติมีมูลค่ากว่า 662 ล้าน บาท และมีกำไรจากการดำเนินงาน กว่ามูลค่า 219 ล้านบาท  ซึ่งกำไรสุทธิจะอยูที่มูลค่า 43.50 ล้านบาท ซึ่งลดลงจาก ไตรมาสเดียวกัน เมื่อของปีที่ผ่านมาที่มีกำไรสุทธิ 424.23 ล้านบาท WHAUP กับกำไรจากการดำเนินงานปกติ Normalized Net Income ในฐานะที่เป็นดัชนีหลักของการสะท้อนผลการดำเนินงานหลักของ บริษัท ที่มีการปรับลดลงกว่า 19% โดยการดำเนินการในส่วนของธุรกิจไฟฟ้า ณูปธาโภคที่ได้รับผลกระทบจากเนชั่สถานการณ์ของภัยแล้งของประเทศไทยและผลกรทบจากเนชั่สถานการณ์หัวเรื่อง การแพร่ระบาดของ Covid-19 ที่ในขณะที่ส่วนของกำไรสุทธิ นั้นได้รับผลกระทบจากผลของการขาดทุน ุทธิจากส่วนของอัตราการเปลี่ยน ไปของการแปลงเงินกู้ของสกุลเงินดอลลาร์ที่มีมูลค่ากว่า 178 ล้านบาท ถ้าเมื่อเทียบกับผลกำไร ก็เป็นมูลค่ากว่า 95 ล้านบาท ที่ในไตรมาสเดียวกันกับของปีก่อน โดยขาดทุนจากอัตราการแลกเปลี่ยนดังกล่าว ที่ไม่มีผลกระทบ ต่อส่วนของทางการเงินสดของทางบริษัท ของ ยานนิพนธ์ บุญเดชานันท์ โดยประธานเจ้าหน้าที่บริหาร บมจ. ดับเบิลยูเอชเอ  ยูทิลิตี้ แอนด์ พาวเวอร์ ที่ได้ก ล่าวไว้กับ ส่วนของทาง ธุรกิจไฟฟ้า ของกลุ่มบริษัทที่คงมีการดำเนินการอยู่ในหลักที่ดี ที่ทางบริษัทนั้นบันทึกส่วนแบ่งของกำไรปกติ nomalized shaer of pofit จากกลุ่มของส่วน ธุรกิจไฟฟ้า เป็นมูลค่ากว่า 251 ล้านบมาท สำหรับข่วงไตรมาส 1 ปี 2563 ที่เพิ่มขึ้นไปกว่า 36% ในช่วงเวลาเดียวกัน ของปีที่ผ่านมาก ของการดำเนินการของโครง การ…

Read More

Covid-19 ทำให้โลกเราเปลี่ยนไป กับความเสียหายมากมาย

Covid-19

Covid-19 ทำให้โลกของเรานั้นเปลี่ยนไป ที่มีการคาดการณ์ กันไว้ว่า การแพร่ระบาดของเชื้อโควิด นั้นก่อให้เกิดความเสียหายอย่างมากถึง มูลค่า 2.7 พันล้านล้านดอลลาร์สหรัฐ ที่เศรษฐกิจของโลกนั้นโดนผลกระทบอย่างรุนแรง ในขณะที่ปัญหาของทางเศรษฐกิจ นั้นกำลังลุกลามไป ได้ต่างจากเชื้อไวรัสที่กำลังแพร่ระบาดเลย  Covid-19 มาพร้อมกับความเปลี่ยนแปรง ที่ประเทศจีน เป็นประเทศที่พบการแพร่ระบาดของเชื้อไวรัสเป็นประเทศแรก ที่ทำให้มีผลกระทบต่อยอดของเศรษฐกิจ ของยอดการผลิต ยอดขาย และยอดขายการลงในโรงงาน จึงเกิดการตกต่ำอย่างมาก เพราะทำให้หลายๆ โรงงานในประเทศจีนนั้นปิดตัวลงอย่างมาก ตั้งแต่ช่วงเดือนมกราคม และเดือนกุมภาพันธ์ ที่ผ่านมา ที่การปิดตัวลงของโรงงานเหล่านี้นั้นส่งผลกระทบต่อระบบเศรษฐกิจโลก เพราะประเทศจีนนั้น เป็นประเทศของผู้ส่งออกรายใหญ่ ที่สุดในโลก บริษัททั่วโลกที่เคยรับวัสดุที่มีราคาต่ำจากโรงงานในจีนประสบปัญหา ที่เนื่องจาก ที่ต้องใช้วัสดุที่มีราคาสูงขึ้น ซึ่งการแพร่ระบาดของเชื้อไวรัส ยังส่งผลต่อการลงทุน ของดัชนี Dow Jones industrial Average (DJIA) , FTSE และ Nikkei ที่ร่วงลงอย่างรุนแรงหลังจากที่มีข่าวการแพร่ระบาด ตั้งแต่วันที่ 31 ธันวาคม 2019 ที่ ดัชนี ของ DJIA และ FTSE นั้นร่วงลงเป็นอย่างมา ในรอบตั้งแต่ ค.ศ. 1987 ที่เป็นการลงทุนที่ถือว่าเป็นการแพร่ระบาดของไวรัสที่จะส่งผลต่อ ความต้องการทางน้ำมัน และก็อาจจะเกิดภาวะ ของการเกิดเศรษฐกิจถดถอย ถึงแม้ว่าทางรัฐบาลของประเทศต่างๆ นั้นจะพยายามออกมาตรการต่างๆ ในการรับมือของการแพร่ระบาดแล้วก็ตาม แต่มาตรการเหล่านั้นกลับทำให้เศรษฐกิจนั้นตกต่ำมากกว่าเดิม  ที่รัฐบาลทั่วโลกที่มีการประกาศข้อกำหนดในการเดินทางเพื่อการป้องกัน การแพร่ระบาดเชื้อไวรัส โดยการปิดชายแดนและไม่อนุญาตให้นักท่องเที่ยวต่างชาติ ที่อยู่นอกกลุ่มประเทศสหภาพยุโรปเข้าประเทศเป็นระยะเวลา 30 วัน ถึงแม้ว่าเศรษฐกิจโลกนันจะถูกทำร้าย จากการแพร่ระบาดของเชื้อไวรัส และมาตรการ ป้องกันเชื้อไวรัสที่เปลี่ยนแปรงพฤติกรรมของผู้บริโภคไปอย่างมาก ในขณะนี้ จึงไม่สามารถประเมินค่าได้ว่าการระบาดครั้งนี้นั้นจะสิ้นสุดลงอย่างไร และรัฐบาลต่างๆ จึงทำได้เพียงเตรียมการรับมือไว้ให้ดี ในช่วงของการแพร่ระบาด ต่อไปอย่างรอครอบที่สุด CR. UFABET

Read More