Oil price Structure ของประเทศไทย

Oil price Structure

Oil price Structure น้ำมันและพลังงาน ถือว่าเป็นต้นทุนที่สำคัญสำหรับการดำรงชีวิต โดยเฉพาะอย่างยิ่งกับประเทศ ที่ไม่ใช่ผู้ส่งออก และอย่างประเทศไทยที่มีโครงสร้างของราคา จึงเป็นประเด็นที่สำคัญที่รัฐบาล และผู้ที่มีส่วนเกี่ยวข้อง ที่ต้องมีการบริหารจัดการ เพื่อการสร้างความมั่นคงให้กับชาติ Oil price Structure มีอย่างไรบ้าง ที่อ้างอิงจากทางสำนักงานนโยบาย และแผนพลังงาน จะพบว่าต้นทุนของค่าน้ำมันที่ประชาชน เติมจริงๆ ไม่ได้เป็นแค่ราคาน้ำมันหน้าโรงกลั่น แต่ต้องผ่ารการควบคุม ของกระบวนการหลายอย่าง ซึ่งผ่านการกำกับดูแลโดยทางภาครัฐ ที่ทำให้โครงสร้างของราคาน้ำมันเป็นไปตามลำดับ ดังนี้ ราคาน้ำมัน ณ โรงกลั่น ที่เป็นต้นทุนที่ถือว่าเป็นราคาน้ำมันที่มาจากโรงกลั่นที่แท้จริง ถ้าคิดเป็นสัดส่วนก็ประมาณ 79% ของราคาน้ำมันที่หน้าจุดขาย สิ่งที่สำคัญควร ทราบถึงราคาของน้ำมัน ณ โรงกลั่นที่ไม่ได้กำหนดโดยที่ต้นทุนของการผลิตหรือ จากโรงกลั่น แต่ที่เคลื่อนไหวไปตามราคาน้ำมันโลก ที่มีความผันผวนไปตามDemand – supply หรือ จะเรียกได้ว่า เป็น ความต้องการทางการซื้อ – ความต้องการทางการขาย โดยที่ทางประเทศไทย ได้มีการอ้างอิงมาจากราคาน้ำมัน ที่สำเร็จรูปจากตลาดสิงคโปร์ ที่บวกค่าขนส่ง ค่าประกัน และค่าการสูญหาย หรือที่เรียกกันว่า ราคา ณ โรงกลั่น ที่ทางบริษัทที่มีการสำรวจถึงการผลิตปิโตรเลียม ที่ต้องแบกรับความเสี่ยงจากการผันผวน เช่น PTTEP หรือ บริษัท ปตท. ที่สำรวจและผลิตปิโตรเลียม จำกัด (มหาชน) ถ้าหากราคาของน้ำมันของโลกที่ขึ้นสูง ทางบริษัทลิตและการสำรวจ ก็จะมีกำไรสูงขึ้น แต่ถ้าเป็นไปในทางตรงข้าม ทางบริษัทที่สำรวจและผลิตปิโตรเลียม ก็อาจจะเกิดการขาดทุนได้เช่นกัน ถ้าหากทางบริษัทไม่ตั้งราคาตามตลาดโลก ที่ผู้บริโภค หรือผู้ค้าปลีกก็จะหันไปนำเข้าน้ำมันจากแหล่งค้าน้ำมัน ที่ใกล้เคียงกัน อย่างประเทศสิงคโปร์แทน แต่สุดท้ายก็ต้องปรับมาขายในราคาตลาดอยู่ดี ภาษีและกองทุนต่างๆ ต้นทุนส่วนของตรงนี้ ถือว่าเป็นส่วนที่ควบคุมโดยทางภาครัฐ เพื่อทำให้ราคาน้ำมันในประเทศเหมาะสมกับลักษณะของประเทศ ที่คิดเป็นสัดส่วนโดยประมาณ 19% ของราคาน้ำมันหน้าจุขาย ซึ่งที่เป็นภาษีและกองทุนที่สำคัญในประเทศไทยมีดังนี้ ภาษีสรรพสามิต คือภาษีที่มีกรมสรรพสามิตเป็นผู้เรียกเก็บจากสินค้าฟุ่มเฟือย…

Read More