Thailand 4.0 คืออะไร กับสภาวะเศรษฐกิจไทย

Thailand 4.0

Thailand 4.0 ถ้าหากพูดถึง ก็คงเป็นวลีเด็ดของยุคสมัยนี้  ที่ว่า 4.0 ก็คือประเทศเราที่จะมุ่งไปสู่ 4.0 จนกว่าจะกลายเป็นคำที่ ถูกมาใช้ในบริบทต่างๆ แต่อีกสิ่งหนึ่งที่เราทุกคนนั้น น่าจะต้องเป็นเหมือนกันคือ รู้ว่า 4.0 จะต้องเป็นอะไรในทางที่ดีขึ้น แต่ก็ไม่สามารถอธิบายได้อย่างถูกต้องว่าแท้ที่จริงมันคืออะไร และอีกอย่างที่สำคัญ ถ้าประเทศไทย จะไป 4.0 นั้นก็แปลว่าตอนนี้เรานั้น ได้ผ่าน 1.0 2.0 และ 3.0 มาแล้วหรือเปล่า และตัวเลขเหล่านี้คืออะไร หมายถึงอะไร ที่วันนี้เราจะมาทำความรู้จักและเข้าใจกับ ประเทศไทย ตั้งแต่ 1.0 ไปถึง 4.0 กัน Thailand 4.0 ที่จะบ่งบอกถึงระดับการพัฒนา ที่รวมไปทุกๆอย่างของ สภาวะเศรษฐกิจของประเทศไทย ทั้ง 4 ยุค ประเทศไทยในยุค 1.0 คือ ประเทศไทยในยุคกสิกรรม ที่เป็นระยะยแรกๆ ของการพัฒนาเศรษฐกิจ ของประเทศต่างๆ ที่มักจะเริ่มต้น เศรษฐกิจด้วยธุรกิจที่เกี่ยวข้องกับทรัพยากรดั้งเดิมของประเทสชาติ ที่เนื่องมาจากในความรู้และเทคโนโลยีไม่มาก และสอดคล้องกันกับลัษณะของสังคมและเศรษฐกิจแบบดั้งเดิมของประเทศอยู่แล้ว แต่ในกรณีของ ประเทศไทย 1.0 ที่เราได้ขับเคลื่อนด้วยทางภาคการเกษตร โดยที่เน้นเรื่องของการส่งออก ข้าวเป็นหลักจนได้ตำแหน่งของ ผู้ส่งออกข้าว อันดับหนึ่งของโลก หลายต่อหลายครั้ง แต่ทางการส่งออกทรัพยากรทางการเกษตรก็จะเป็นธุรกิจที่มีความผันผวนทางราคาโภคภัณฑ์โลก ที่นอกจากนี้สินค้ายังไม่ค่อยแตกต่างกันมาก ที่จะทำให้ตลาดที่มีการแข่งขันนั้นสูง และความผันผวนไปตามภาวะของเศรษฐกิจโลก ประเทศไทยในยุค 2.0 คือประเทศไทยในยุคอุตสาหกรรมเบา ที่ระยะต่อมาของการพัฒนาระบบเศรษฐกิจ ที่ประชาชาติ ที่จะพัฒนาขึ้นมาเป็นอุตสาหกรรมของการผลิตมากขึ้น ที่เนื่องมาจากลักษณะธุรกิจที่มีความแน่นนอสูงกว่าและมักจะสร้างผลผลิดต่อตาราเมตร และของประชากรได้มากขึ้น ที่ระยะของประชาชาติมักจะเริ่มต้นจาก ส่วนของอุตสากรรมการผลิตที่มีความซับซ้อนไม่มาก โดยที่จุดเด่นของยุคนี้ที่จะทำให้เป็นผู้ชนะได้คือการมีต้นทุนค่าแรงที่ถูกกว่าประเทศที่เป็นฐานการผลิตอื่นจนทำให้สินค้ามีราคาในระดับที่แข่งขันได้ในตลาดโลก ระยะนี้รายได้ต่อหัวประชากรก็จะค่อยๆ ขยับตัวสูงขึ้นตามคุณภาพชีวิตที่ดีมากขึ้นจากการพัฒนาภาคอุตสาหกรรมที่สร้างรายได้ให้ประเทศมากขึ้น ประเทศไทยในยุค 3.0 คือ รายได้ต่อหัวประชากรขยับตัวเพิ่มสูงขึ้น ค่าแรงขั้นต่ำของประเทศจะสามารถ ปรับตัวสูงขึ้นตามรายได้ประชากรและเงินเฟ้อ ทำให้การทำอุตสาหกรรมที่มีความซับซ้อนน้อยแข่งขันได้ยากขึ้นเรื่อยๆ จากสภาพต้นทุนค่าแรงที่สูงขึ้น ระยะนี้ประเทศต้องพัฒนาขึ้นไปเป็นอุตสาหกรรมที่มีการเพิ่มมูลค่ามากขึ้น…

Read More