Black Monday วิกฤตเลวร้าย วันของประวัติศาสตร์ตลาดหุ้น

Black Monday

Black Monday เป็นวันที่ วิฤตเลวร้ายของประวัติศาสตร์ ของตลาดหุ้น เพียงแค่ตลาดหุ้นที่ร่วงเพียง 1-2% ที่หลายคนก็ว่ารุนแรงแล้ว แต่จะเกิดอะไรขึ้นถ้าอยู่ดีๆ ตลาดหุ้นก็ร่วงหนักที่เดียวไปถึง 20% ถ้าลองนึกภาพประวัติศาสตร์ ของตลาดหุ้นไทยจาก 1,500 จุด ที่ร่วงลงไปเหลือ 1,200 จุด ในบรรยากาศ ของวันนั้นที่ยังคง ไม่ต่างอะไรกับวันโลกวินาศ

แต่นั่นก็คือสิ่งที่เกิดขึ้นกับ สหรัฐอเมริกาเมื่อวันจันทร์ ที่ 19 มิถุนายน 1987 เป็นวันที่ ดัชนี ดาวโจนส์ นั้นร่วงลงไปถึง 500 จุด หรือคิดเป็น การลดลงกว่า 22% เพียงระยะเวลา ในภายวันเดียว ซึ่งก็ถือว่า เป็นการลดลง ของดาวโจนส์ ที่คิดเป็นเปอร์เซ็น ที่สูงที่สุดในประวัติศาสตร์ ของตลาดหุ้น

ที่เรียกว่า Black Monday หรือ วันจันทร์ทมิฬ

Black Monday

ที่ปกติแล้ว ที่ทุกการร่วงลงของตลาดแบบรุนแรง นั้นจะต้องมีสาเหตุที่ ค่อนข้างเป็นเรื่องราวที่ค่อนร้ายแรง หรืออาจจะเกิดสงคราม ที่มีมาตราการณ์ของรัฐบางอย่าง หรือเกิดสถานะการณ์ความไม่สงบสุขทางการเมืองฯลฯ แต่ในกรณีนี้ ที่เกิดวันจันทร์ จันทร์ทมิฬ ที่ทำให้ความมั่งคั่งของ ชาวอเมริกัน นั้นหายไปกว่า 5 แสนล้านเหรียญ ที่สาเหตุของมันนั้น มาจากเรื่องที่ง่ายกว่านั้นมาก

เพียงเรื่องที่เกิดจาก แรงขายที่มากกว่าแรงซื้อ แต่นั้นไม่ใช่คำตอบ แบบการใช้กำปั้นทุบดิน เพราะแรงขายที่ว่านั้น มันคือแรงขายแบบ มหาศาล ที่มาจากระบบการเทรดของคอมพิวเตอร์

ที่การคำนวณจากคอมพิวเตอร์นั่นไม่พลาดแน่นอน ถ้าคำส่วนใหญ่ก็คิดแบบนั้น แต่เราก็ไว้ใจในการคำนวณของคอมพิวเตอร์ ที่ให้คำนวณเส้นทางการบินจากโลกไปดวงจันทร์มากว่า ที่จะต้องมานั่งคำนวณเอาเอง ในนั่นก็ยังมีจุดอ่อนที่ยิ่งกว่านั้น สำหรับโลกที่มีการลงทุนตามปัจจัยต่างๆ มากนอกเหนือจากความเข้าใจของเรา เป็นอย่างมาก และนั้นก็จะทำให้ฟดอกาสพลาดของคอมพิวเตอร์ ก็ยิ่งสูงขึ้นไปอีก

ที่ในยุคนั้น คอมพิสเตอร์มีความนิยมเป็นอย่างมาก ในสายธุรกิจ เกี่ยวกับเรื่องของการลงทุน การควบคุมความเสี่ยง โดยที่จะมีการกำหนดจุดตัดการขาดทุนไว้ เพื่อหลีกเลี่ยงสถานการณ์ ที่จะทำให้เกิดการเสียหายอย่างหนัก

เช่นถ้าหาก ตลาดหุ้นโดยรวมที่ร่วงลงไป 10% โดยการคำนวณของคอมพิวเตอร์ อาจจะขายหุ้นในกองทุนออกไป 20% – 50% เพื่อไม่ให่กองทุนต้องมาถือหุ้นมากไปถ้าหากตลาดหุ้นร่วงลงไปหนักกว่าเดิม ที่ฟังอาจจะเป็นการสมเหตุสมผล แต่จะเกิดอะไรขึ้นถ้าเกิดว่ากองทุนส่วนใหญ่นั้นก็คิดเหมือนกัน ว่าต้องขายหุ้นออกไปให้เร็วที่สุด และนั่นคือสิ่งที่เกิดขึ้นในเช้าวันจันทร์ที่ 19 ตุลาคม 1987 ที่เมื่อเกิดแรงขายมหาศาล จากกองทุน ที่ถล่มลงมาในระลอกแรก และเมื่อมีแรงขายที่มากกว่าแรงซื้อมากๆ ตลาดหุ้นนั้นก็ร่วงลงหนัก และเมื่อตลาดหุ้นนั้นร่วงลงมาหนัก ในส่วนของการดูแลระบบผ่านคอมพิวเตอร์ ต่างก็แยกกันขายไป เพราะส่วนของทางตลาดหุ้นนั้นหวั่นว่า หุ้นจะร่วงลงมาถึงจุดที่มันกำหนดเอาไว และเมื่องแย่งกันขายเป็นระรอกที่สอง สภาวะของตลาดก็ยิ่งร่วงลงไปอีก เป็นวัฏจักรของความวุ่นวายที่ดำเนินการไปอย่างต่อเนื่อง

ในส่วนของประเทศไทยนั้นก็ มีส่วนที่ได้รับผลกระทบ ไม่แพ้กัน ถึงจะอยู่ห่างกันคนละซีกโลก แต่ในส่วนของหุ้นไทยนั้น ในวันถัดมาก็ร่วงลงไปกว่า 8% และก็ร่วงลงไปอีก 40% ที่นับจากเหตุการณ์ วันจันทร์ทมิฬ ในระยะเวลาไม่ถึงสองเดือน

และในสาเหตุที่แท้จริง ก็ดูเป็นความผผิดของการคำนวณของคอมพิวเตอร์ แต่มันก็เป็นเพียงส่วนหนึ่งแต่จนทุกวันนี้ ก็ยังไม่มีใครสามารถสรุปได้ ว่าสาเหตุที่แท้จริง ส่วนไหนเป็นตัวชนวน ที่ทำให้ตลาดหุ้นนั้นทิ้งดิ่งลงมา แต่ไม่ว่าจะเป็นเพราะจากสาเหตุอะไร แต่จริงๆ แล้วอาจจะเกิดขึ้นจาก ความประมาท

ซึ่งหลังจากปี 1987 ของเหตุการณ์ที่ตลาดหุ้นร่วงลงมาอย่างรุนแรงในระยะเวลาอันสั้น ก็ยังคงมีปรากฏการณ์ให้ได้เห็นกันบ่อยๆ เหมือนในปี 2011 และ 2015 ที่ดัชนีดาวโจนส์นั้นร่วงลงไป หลายเปอร์เซนเช่นเดียวกัน แต่ก็ยังโชคดีที่ตลาดก็ยังกลับมาฟื้นตัวได้เร็วกว่าตอนเกิด วันจันทร์ทมิฬ เพราะตอนนั้น ต้องใช้ระยะเวลากว่า 14 เดือนที่ตลาดหุ้นจะได้สร้างจุดสูงสุดใหม่อีกครั้ง

CR.UFABET

Related posts