เสี่ยงเศรษฐกิจ ขั้นถดถอย ของการตีโจทย์บโยบายทางการเงิน-คลัง ของไทย

เสี่ยงเศรษฐกิจ

เสี่ยงเศรษฐกิจ ขั้นถดถอย โดยนายประสาร ไตรรัตน์วรกุล อดีตผู้ว่าการ ธนาคารแห่งประเทศไทย (ธปท.) ได้มีการเปิดเผยกับทาง “อินโฟเควสท์” ไว้ว่า ในภาพรวมของเศรษฐกิจโลกในขณะนี้ นั้นกำลังเผชิญกับปัจจัยที่ไม่แน่นอนที่จะส่งผลกระทบ อย่างมีนัยสำคัญหลายด้าน โดยที่ล่าสุดการแพร่ระบากของไวรัสโควิด-19 ที่ส่งผลกระทบเป็นอย่างมาก ต่อทางด้านเศรษฐกิจที่ประเทศจีน ที่มีบทบาทที่สำคัญกับทางเศรฐกิจโลก ที่เนื่องมาจากขนาดของเศษรฐกิจของจีนที่คิดเป็น 16% ของ GDP โลก

คาดว่า เสี่ยงเศรษฐกิจ ขั้นถดถอย

ซึ่งเป็นผลกระทบที่เกิดขึ้นมาอย่างเชื่อมโยงมายังหลายภาคอุตสาหกรรม ที่เนื่องมากจากจีนนั้นเป็นแหล่งของ ซับพลายเชน หรือห่วงโซอุปทาน จำนวนมาก ของหลายอุตสาหกรรรมหลักของโลก ในขณะที่ประชากรชาวจีนเป็นผู้ที่เดินทางท่องเที่ยวที่สร้างรายได้หลักให้กับหลายประเทศเช่นกัน

แต่อย่างไรก็ตาม ที่ว่าแนวโน้มทางเศรษฐกิจโลกนั้นกำลังเกิดการชะลอตัว และเชื่อว่าทางรัฐบาลของประเทศต่างๆ ก็ยังคงสามารถใช้เครื่องมือนโยบายการเงินและการคลังในลักษณะผ่อนคลาย ที่จะช่วยให้การประคับประคองภาวะของเศรษฐกิจโลกไว้ในช่วงนี้

และยังมีการจับตามอง 3 ปัจจัย ที่เสี่ยงกับ เศรษฐกิจประเทศไทย GDP ปีนี้ นั้นเสี่ยงว่าจะต่ำกว่า 2% ที่นายประสารได้กล่าวไว้ว่า ในช่วงหลายเดือนที่ผ่านมานั้นมีหลายปัจจัยลบ ที่ถาโถมเข้ามาทำให้กระทบกับเศรษฐกิจไทย หลายเรื่อง

ปัจจัยแรกคือ ผลกระทบจากการแพร่ระบาดของไวรัสโควิด-19 ที่เนื่องมาจากเศรษฐกิจไทบนั้นเป็นเศรษฐกิจในรูปแบบเปิด ทำให้ได้รับผลกระทบจากปัจจัยภายนอกมากพอสมควร โดยเฉพาะที่หลายอุตสาหกรรมของไทยที่ต้องพึ่งพา ซับพลายเชนของประเทศจีนเป็นจำนวนมาก และอุตสาหกรรมการท่องเที่ยว  มีการพึ่งการนักท่องเที่ยวเป็นหลัก ซึ่งปัจจุบันก็ลดลงไปอย่างมาก แต่ก็คงต้องติดตามต่อไปว่าการแพร่ระบาดของไวรัสโควิด-19 นั้นจะยืดเยื้อไปนานแค่ไหน

สำหรับปัจจัยภายในประเทศ ที่แม้ว่าการใช้จ่ายเงินงบประมาณของปี 2563 ที่มีความล่าช้านั้นจะเริ่มผ่อนคลาย โดยคาดอีกไม่นานนี้จะสามารถเบิกจ่ายงบประมาณได้ตามปกติ ซึ่งจะเป็นปัจจัยหลักของการขับเคลื่อนเศรษฐกิจไทย ในช่วงครึ่งปีหลัง แต่สิ่งที่ต้องพึงระวัง คือปัญหาภัยแล้ง ที่เนื่องมาจากปริมาณน้ำในพื้นที่กักเก็บหลายแห่งในประเทศไทย นั้นอยู่ในระดับต่ำที่สุดในรอบหลายๆปีที่ผ่านมา โดยที่ไม่สามารถหลีกเลี่ยงได้ ที่จะมีผลกระทบกับทางภาคเกษตรกรรม ทำให้รายได้เกษตรกรลดลง

และส่วนปัจจัยสุดท้ายที่เป็นปัจจัยเชิงโครงสร้างที่ต้องเข้ามาดูแล ก็คือ ปัญหาเรื่องหนี้ทางภาคครัวเรือน ที่แม้ว่าจะมีนโยบาย ของการเงินที่อยู่ในทิศทางที่ผ่อนคลาย ของแนวโน้มอัตราดอกเบี้ย ที่น่าจะทรงตัวในระดับต่ำ แต่ต่อไปอาจจะช่วยผ่อนคลาย สภาพคล่องระดับครัวเรือนได้บ้าง แต่ก็ยังจำเป็นที่ต้องให้ความสำคัญและมีการติดตามอย่างใกล้ชิด

ถ้าหากมีการคลี่คลายได้ภายในครึ่งปีแรก ก็เชื่อว่าในช่วงครึ่งปีหลังเศรษฐกิจนั้นจะกลับมาฟื้นตัวได้ดี เหมือนครั้งที่เกิดการระบาดของโรคซาร์ส ในช่วงนั้น ก็ทำให้เศรษฐกิจโลกโดนกระทบไปถึง 1% เมื่อเกิดเหตุการณ์คลี่คลาย เศรษฐกิจก็กลับขึ้นมา 1% เช่นกันเป็นลักษณะรูป V-shape

CR.UFABET

Related posts