ภาวะตลาดหุ้นนิวยอร์ก ปิดลบ 17.53 ของดาวโจนส์

ภาวะตลาดหุ้นนิวยอร์ก ปิดลบ 17.53

ภาวะตลาดหุ้นนิวยอร์ก ปิดลบ 17.53 ของดัชนีดาวนโจนส์ ตลาดหุ้นนิวยอร์ก ที่ปิดลลบไปเล็กน้อย ของช่วงเมื่อคืนที่ผ่านมา (29 พฤษภาคม) โดยที่ทางการตลาดนั้นถูกกดดันหลังจากที่ทาง ประธานาธิบดี โดนัลด์ ทรัมป์ ได้มีการประกาศการบกเลิก สถานะพิเศษ ของฮ่องกง เพื่อการตอบโต้จีน ที่บังคับใช้กฏหมายความมั่นคงแห่งชาติในฮ่องกง ที่ทางนักลงทุนนั้นมองว่า การตอบโต้ดั่งกล่าวนั้น จะส่งผลกระทบให้ทางเศรษฐกิจของทางสหรัฐเล็กน้อยกว่าที่วิตก

ภาวะตลาดหุ้นนิวยอร์ก ปิดลบ 17.53

ดัชนีดาวโจนส์ ภาวะตลาดหุ้นนิวยอร์ก ปิดลบ 17.53

หรือปิดไว้ที่ 25,383.11 จุด ซึ่งลดลงไป 17.53 หรือ -0.07% ซึ่งในขณะที่ดัชนี S&P500 นั้นปิดไว้ที่ 3,044.31 จุด ที่เพิ่มขึ้น 14.58 หรือ +0.48% และในส่วยของดัชนี Nasdaq ที่ปิดไว้ที่ 9,489.87 จุด ที่เพิ่มขึ้น 120.88 หรือ +1.29%

ดัชนีดาวโจนส์ที่ปิดตลาดและมีการปรับตัวลงเล็กน้อย แต่ดัชนีทั้ง 3 ตัวนั้นก็สามารถปรีบตัวขึ้นๆด้ทั้งที่ในช่วงสัปดาห์นี้ และในเดือน พฤษภาคม 63

ในส่วนของดัชนีดานส์โจนส์ ช่วงเดือนพฤษภาคม ที่ +3.9% , ดัชนี S&P500 ที่ +4.5% และดัชนี Nasdaq ที่ +1.8% และในรอบสัปดาห์นี้ที่ ดัชนีดาวโจนส์ และดัชนี S&p500 นั้นปรับตัวขึ้นมามากกว่า 3% ซึ่งในขณะที่ Nasdaq นั้น +1.8%

ที่ตลาดสหรัฐนั้นปรับตัวลง หลังจากที่ ประธนาธิบดี โดนัลด์ ทรัมป์ ได้สั่งให้ทางคณะบริหาร ของเขานั้นเริ่มกระบวนการยกเลิก สถานะพิเศษ ของฮ่องกง เพื่อเป็นการตอบโต้จีน ที่วางแผนบังคับใช้กฏหมาย ความมั่นคงแห่งชาติ ฉบับใหม่ให้ฮ่องกง ซึ่งในช่วงสัปดาห์นี้ที่เกิดเป็นความวิตกกังวล ที่ไปกดดันตลาดมาตลาดทั้งอาทิตย์นี้

ที่นอกจากนี้ ปธน. ทรัมป์ ยังได้ประกาศว่า จะตัดความสัมพันธ์ ของสหรัฐ กับองค์การอนามัยโลก (WHO) อีกด้วย และหลังจากที่เขานั้นขู่ที่จะดำเนินการดั่งกล่าวเมื่อช่วงต้นเดือนนี้

ทางด้าน นายเจอโรม พาวเวล ประธานธนาคารกลางสหรัฐ (FED) ที่ได้ออกมาเปิดเผยโดยย้ำว่า ทางFED  จะใช้ดครื่องมือในการกระตุ้นเศรษฐกิจสหรัฐ ท่ามกลางการแพร่ระบาดของ Covid-19

ที่หุ้นกลุ่มเทคโนโลยี ได้หนุนตลาดมามากขึ้นที่สุด ในขณะที่ทางกลุ่มการเงิน ที่ถ่วงลง แต่ทางหุ่นTwiter ที่ร่วงลงมา 2%  และหุ้น Facebook ก็ลดลง 0.2% หลังจากปธน. ทรัมป์ ลงนามคำสั่งพิเศษ ที่ขู่ใช้กฏหมายเลรีภาพ

จาดข้อมูลทางเศษฐกิจที่ ทางสหรัฐได้มีการเปิดเผยเมื่อคืนนี้ ที่ทางกระทรวงพาณิชย์สหรัฐ ได้เปิดเผยว่า การใช้จ่ายส่วนบุคคล ของผู้บริโภคสหรัฐนั้น ดิ่งลงกว่า 13.6% ในช่วงเดือน เมษายน ซึ่นก็เป็นการทรุดตัวลงอย่างมากที่สุดนับตั้งแต่ที่เริ่มมีการเก็บรวบรวมข้อมูลในปี 2502 และแย่กว่าสถิติเดิมที่อยู๋ที่ 6.9%  ที่ทำไว้เมื่อช่วงเดือน มีนาคม ในขณะที่นักวิเคราะห์ คาดการณ์ไว้ว่าอาจะเกิดการลดลงถึง 12.6%

ที่ทางกระทรวงพาณิชย์สหรัฐนั้นยังเปิดเผยว่า ดัชนีของราคาค่าใช้จ่ายเพื่อการบริโภคส่วนบุคคล (PCE) ที่ลดลง 0.5% ในช่วงเดือน เมษายน ถ้าเมื่อเทียบเป็นรายเดือน ซึ่งเป็นการดิ่งลงมามากที่สุดในรอบ 5ปี หลังจากที่ลดลง 0.3% ในช่วงเดือน มีนาคม

Cr. ฝากขั้นต่ำ100

Related posts